รหัสวิชา   1206 224
ชื่อวิชา   Database
หน่วยกิต   3
ภาคเรียนที่  2/ 2560
คำอธิบายวิชา  

ความหมายและความแตกต่างระหว่างระบบฐานข้อมูล และระบบฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ประเภทข้อมูล การจัดเก็บ การออกแบบและจัดการฐานข้อมูล รูปแบบการเชื่อมโยงฐานข้อมูลความสัมพันธ์ของข้อมูลทางภูมิศาสตร์ มาตรฐานโครงสร้างข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ในชั้นฐานข้อมูลต่างๆ การป้องกันฐานข้อมูล ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูลและฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อการจัดการฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์

          Definitions and differentiation of database and geo-database systems, geographical datatypes, collection, geo-database design methods and management, linkage patterns and relationships of Geographic Information Systems, and standardization of relation database, layer structure, data protection, computer language for database and geo-database management and geo-database application software

แผนการสอน  
















































































































































1. แผนการสอน



สัปดาห์



ที่



หัวข้อ / รายละเอียด



จำนวนชั่วโมง



กิจกรรมการเรียนการสอน



สื่อการสอน



อาจารย์ผู้สอน



ทฤษฎี



ปฏิบัติ



1



บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



2



บทที่ 2  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล 



2.1  ความหมายของโครงสร้างข้อมูลในระดับต่างๆ

  2.2  ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล



  2.3  ความหมายของระบบฐานข้อมูล



  2.4  องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล



  2.5  ประโยชน์และความสำคัญของการประมวลผล ด้วยฐานข้อมูล



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



3



บทที่ 3. สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล

3.1  ฐานข้อมูลระดับภายใน

3.2  ฐานข้อมูลระดับแนวคิด   

3.3 ฐานข้อมูลระดับภายนอก



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



4



บทที่  4  แบบจำลองฐานข้อมูล



ประเภทของแบบจำลองข้อมูล



แบบจำลองฐานข้อมูล (Data Model)



1.   ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Model)



2.   ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Model)



3.  ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Model)



4.   ฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object Oriented Model)



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



5



บทที่  5  ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์



5.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์



5.2 การสร้างตาราง



 5.3 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



6-7



บทที่ 6 แบบจำลอง E-R



6.1ประเภทของรีเลชันชิพและกฏเกณฑ์ข้อกำหนดในความสัมพันธ์    



  6.2 คุณสมบัติของแผนภาพ อีอาร์ที่ดี



6.3 การแปลงแผนภาพอีอาร์เป็นรีเลชันข้อมูล



6.4ตัวอย่างการวิเคราะห์



4



4



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



8



บทที่ 7 Introduction to GEODATABASE



4



4



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



9



บทที่ 8 designing a geodatabase



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



3) นิสิตออกแบบฐานข้อมูลและเครื่องมือสำหรับการสำรวจ



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



10



บทที่ 9 defining the properties of a geodatabase



4



4



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(3) นิสิตลงฝึกประสบการณ์ภาคสนาม การสร้างแผนที่ชุมชนและนำมาสร้างเป็นฐานข้อมูลเชิงพื้นที่



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



11



บทที่ 10 creating geodatabase



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



12



บทที่ 11 Working with geodatabase schema



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



13



บทที่ 12 Copying geodatabases



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



14



บทที่ 13 Geodatabase migration



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



3) ถอดบทเรียนการสร้างแผนที่แหล่งเรียนชุมชนที่นิสิตได้สร้าง กับคนในชุมชน



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



15



บทที่ 14 Adding datasets and other geodatabase elements



2



2



(1) ผู้สอนอธิบายและให้นิสิตปฏิบัตินิสิตในห้องเรียน



(2) ผู้สอนตั้งโจทย์ให้นิสิตได้คิดและปฏิบัติและเฉลย



(1) Microsoft Powerpoint



(2) E-Learning ใน www.wbi.msu.ac.th



นุชนาฏ บัวศรี



 



รายละเอียดอื่นๆ  

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

2.1 วิธีการ

ผลการเรียนรู้

วิธีการประเมิน

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของการประเมิน

1.1(1), 4.1(1)

ผลงานที่มอบหมาย/สอบย่อย                     

บางสัปดาห์

30 %

2.1(3)

คะแนนจิตพิสัย                          

ทุกสัปดาห์

10 %

2.1(1),2.1(2),3.1(1)

สอบ(กลางภาค/ปลายภาค)

8/16

40 %

 

รายวิชา                    2.2 เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง

     1)  มีเวลาเข้าชั้นเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน

     2)  ได้คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวม

 

2.3 เกณฑ์ค่าระดับคะแนน

    พิจารณาเกณฑ์ผ่านรายวิชาตามข้อ 2.2  
      1)  ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2.2 จะได้รับค่า ระดับคะแนน F

      2)  ผู้ที่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2.2 จะได้รับค่าระดับคะแนน A B+ B C+ C D+ และ D

         ประเมินผลตามเกณฑ์ที่กำหนด หรือ แบบ Normalized T Score

 

เกณฑ์การตัดเกรด
A 80
B+75
B 70
C+ 65
C 60
D+ 57
D 50
F 0